Tea Board of India18 Aug 2010 ... Tea is one of the industries, which by an Act of Parliament comes under the control of the Union Govt. The genesis of the Tea Board India
http://www.teaboard.gov.in/สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา - ชาอินเดีย : ชงอย่างไรให้อร่อยท่าน ที่มีโอกาสได้ลองลิ้มชิมรสชาอินเดียคงจะไม่ปฏิเสธว่าชาอินเดียมีรสชาติดีไม่ ... ก่อนจะชงชาแบบอินเดีย เราควรเตรียมส่วนผสมให้พร้อมเสียก่อนซึ่งก็ได้แก่ ชาผง ...
http://www.uniserv.buu.ac.th/forum2/topic.asp?TOPIC_ID=83(credit: http://www.travelblog.org/Asia/India/Kerala/blog-272232.html) Masala chai (Hindi मसाला चाय: masālā cāy, "spiced tea") is the beverage from the Indian subcontinent made by brewing tea with a mixture of aromatic Indian spices and herbs.
By itself, chai is merely the generic word for tea in Hindi, Gujarati , Punjabi and many other languages around the world, and was adopted into British slang as "cha" or "char". However, for many English speakers who refer to ordinary tea as "tea", the word "chai" has come to imply "masala chai".
Spiced teaFor many English speakers outside those regions, the term "chai" is synonymous with masala chai, as further described below. The pleonasm chai tea is sometimes used to indicate spiced milky tea as distinct from other types of tea. Numerous coffee houses use the term chai latte for their version to indicate that the steamed milk of a normal caffè latte is being flavored with a spiced tea concentrate instead of with espresso, without necessarily implying the addition of coffee (though also see the Western "chai" modifications at the end of the article). Some coffeehouses and brand names refer to their product as chai tea latte.
Ingredients of Masala chaiThere is no fixed recipe or preparation method for
masala chai and many families have their own versions of the tea. The tea leaves (or tea dust) steep in the hot water long enough to extract intense flavor, ideally without releasing the bitter tannins. Because of the large range of possible variations, masala chai can be considered a class of tea rather than a specific kind. However, all masala chai has the following four basic components:
TeaThe base tea is usually a strong black tea such as Assam, so that the spices and sweeteners do not overpower it. However, a wide variety of teas are used to make chai. Most chai in India is brewed with strong black tea, but Kashmiri chai is brewed with gunpowder tea.
SweetenerPlain white sugar, Demerara sugar, other brown sugars, palm or coconut sugars, or honey is used. Jaggery is also used as a sweetener, mostly in rural parts of India. A large quantity of sugar may be required to bring out the flavor of the spices; one recipeuses three tablespoons of sugar in 3½ cups of chai. Condensed milk can also be added as a dual-purpose sweetener and dairy addition.
MilkUsually, whole milk is used for its richness. Generally, masala chai is made by mixing ¼ to ½ parts milk with water and heating the liquid to near-boiling (or even full boiling). As noted above, some people like to use condensed milk in their masala chai to double as the sweetener.
SpicesThe traditional masala chai is a bracing, strongly spiced beverage brewed with so-called "warm" spices. Most masala chai incorporates one or more of the following:
cardamom, cinnamon, ginger, fennel seeds, peppercorn, and cloves.Traditionally, cardamom is a dominant note, supplemented by other spices such as cloves, ginger, or black pepper; the latter two add a pleasantly piquant flavour. In India, fresh ginger is often used.
However, in Western India, fennel and black pepper are expressly avoided. The Kashmiri version of chai is brewed with green tea instead of black tea and has a more subtle blend of flavorings: almonds, cardamom, cinnamon, cloves and sometimes saffron. In Bhopal, typically, a pinch of salt is added.
Other possible ingredients include nutmeg, rose flavouring (where rose petals are boiled along with the loose-leaf tea), or liquorice root.
......................................................................................................................................................
ชาอินเดีย : ชงอย่างไรให้อร่อยชาวอินเดียเป็นชนชาติหนึ่งในภูมิภาคเอเชียที่นิยมการดื่มชา ไม่อากาศว่าจะหนาวหรือร้อนเพียงใดก็ตาม เวลาบ่ายแก่ๆ ของวันก็ยังเป็นเวลาน้ำชาของพวกเขา ความนิยมในการดื่มชาของคนอินเดียคงจะประมาณได้จากจำนวนร้านขายน้ำชาที่มีอยู่บนถนนแทบจะทุกสายในอินเดีย หรือแม้แต่ร้านขายชาผงที่ในแต่ละวัน จะมีคนเข้าแถวรอซื้อกันยาวเหยียดเหมือนของได้เปล่า คอชาคงมีความสุขถ้าได้ไปอินเดียเพราะสามารถหาชาที่มีรสชาติดีดื่มได้ง่ายแถมราคาถูกอีกด้วย แต่คงเป็นความทุกข์ของคอกาแฟเพราะร้านกาแฟหายากมากอย่างไม่น่าเชื่อเลยทีเดียว
ท่านที่มีโอกาสได้ลองลิ้มชิมรสชาอินเดียคงจะไม่ปฏิเสธว่าชาอินเดียมีรสชาติดี ไม่แพ้ชาที่อื่นๆในโลก แต่สำหรับท่านที่ไม่มีโอกาสได้ไปชิมชาที่อินเดียก็ไม่เป็นไร เพราะวันนี้เราจะแนะนำวิธีการชงชาให้อร่อยในแบบของอินเดีย ก่อนจะชงชาแบบอินเดีย เราควรเตรียม...
ส่วนผสมให้พร้อมเสียก่อนซึ่งก็ ได้แก่
1. ชา คุณภาพดี ชาที่ใช้ถ้าจะให้อร่อยแบบต้นตำรับควรเป็นชาดำ จะเป็นชาผง หรือว่าชาใบ ก็ได้ เช่น ชาดาร์จีลิ่ง (Darjeeing) หรือ ชาอัสสัม (Assam) 2. นมสด 3. น้ำเปล่า (ถ้าต้อง)4. ขิงสด5. เครื่องเทศต่างๆ ได้แก่ ลูกกระวานเทศ, อบเชย, เม็ดยี่หร่า, เม็ดพริกไทยดำ, กานพลู เมื่อรู้จักส่วนผสมครบแล้วเราก็เริ่มลงมือทำ1. เริ่มด้วยการต้มนมที่ผสมกับน้ำในอัตราส่วนประมาณ 2:1 ส่วน ที่ต้องผสมน้ำลงไปก็เพราะ ไม่ต้องการให้ชาที่ชงได้ข้นมากจนเกินไปนั่นเอง (แต่ถ้าต้องการดื่มชาที่มีความเข้มข้นของนม ก็สามารถต้มนมอย่างเดียวโดยไม่ต้องผสมน้ำได้เหมือนกัน)
2. เมื่อนมเดือดได้ที่ดีก็เติมผงชาลงไปประมาณ 2 – 3 ช้อนชา หรือถ้าใครชอบชาแก่ๆ ก็ใส่ผงชาลงไปอีกได้ เคล็ดลับที่ไม่ควรลืมในขั้นตอนนี้ก็คือ
ต้องรอให้นมที่ต้มเดือดได้ที่ก่อนจึงใส่ผงชาลงไป มิฉะนั้นชาจะไม่แตกตัวซึ่งจะทำให้เสียรสชาติ
3. พอชาแตกตัวดีซึ่งก็สังเกตได้จากสีของน้ำนม จะเริ่มกลายเป็นสีออกนั้นตาลของชา คุณก็ใส่น้ำตาล หรือน้ำผึ้ง ลงไปมากน้อยตามต้องการ
4. จากนั้นก็หรี่ไฟแล้วคนจนน้ำตาลละลาย ต่อจากนี้เป็นสูตรเด็ดเคล็ดลับขั้นสุดท้าย คือเพิ่มไฟให้แรงอีกนิดใส่ ขิงทุบ และเครื่องเทศที่ทุบแล้ว ลงไปแล้วรอจนชาเดือดแรงๆ อีก 2-3 ครั้ง เพื่อให้กลิ่นของ ขิง และเครื่องเทศ ออกมาปนกับชา
5. จากนั้นหรี่ไฟแล้วต้มต่อไปอีกประมาณ 2-3 นาทีก็ยกลงได้ ใช้ตระแกรงกรองผงชา ขิง และเครื่องเทศต่างๆออกให้หมด เท่านี้คุณก็จะได้ “ชาร้อน” หรือที่ชาวอินเดียเรียกว่า “ครัม จาย” ที่มีรสชาติหวานหอม กลมกล่อม ใช้ดื่มร่วมกับขนมไทย ขนมฝรั่ง เป็นของว่างยามบ่ายได้อย่างอร่อยไม่น้อยทีเดียว
ถึงแม้การชงชาแบบอินเดียจะมีขั้นตอนและเคล็ดลับยุ่งยากอยู่บ้าง แต่ถ้าท่านได้ลองทำดูก็จะรู้ว่าชาที่ผ่านขั้นตอนการปรุงแต่งในแบบของอินเดีย มีรสชาติที่รับรองได้ว่าดีกว่าชาซองใส่นมสด หรือแม้แต่ชาผสมสำเร็จ ทรี อิน วัน ของไทยอย่างแน่นอน
info credit:
http://en.wikipedia.org/wiki/Masala_teahttp://www.uniserv.buu.ac.th/forum2/topic.asp?TOPIC_ID=83......................................................................................................................................................
Bloggang.com : พ็อบเบิ้ล : ชาอินเดีย ร้อน ๆ ซักแก้วมั้ยคะ28 ก.ค. 2008 ... ไหน ๆ ก็มีเวลาแล้ว ลงโพสต์ ชาอินเดียแบบใส่เครื่องเทศเต็ม ๆ แถมกันไปด้วยเลย หลังจากที่เมื่อกี๊ เพิ่งโพสต์แกงมันฝรั่งกับโรตีทอดไปสด ๆ ร้อน ๆ ...
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=nuumali&month=28-07-2008&group=3&gblog=1ManyTV : บ้านอุ้ม - ชาอินเดียวิธีการชงชาอินเดีย - Chai Tea
http://www.manytv.com/videos/3038-Play_Video.phpPANTIP.COM : D5539550 ชาของคนอินเดียหรือมุสลิมนี่ชงยังไงครับผมซื้อชาเป็นห่อของอินเดีย ชื่อ tata มา (หาที่ขายชาซีลอนไม่มี) ... ที่บ้านก็มีชาอินเดียครับซื้อมาจากโจธปุระ มีถุงชากับถุงเครื่องเทศแยกกัน
http://topicstock.pantip.com/food/topicstock/2007/06/D5539550/D5539550.html“ชาอินเดีย” (the indian tea)http://www.manager.co.th/SMEs/ViewNews.aspx?NewsID=9480000139152เพื่อคนที่รัก - Roytawan Coffee - เพื่อคนที่รัก... กาแฟดื่มชาแทนก็แล้วกัน กาแฟเมืองจันทร์ไม่มา ถ้างั้นฉันจะดื่มชาอินเดีย หลั่น ลัน ล้า รินนมตราหมีลงในหม้อเคลือบ เติมน้ำเปล่าลงไปนิดนึง (มีเหตุผลนะ ...
http://www.roytawan.com/cafe/view.php?id=1648ชีวิตในบังกาลอร์ วิธีทำชาแบบอินเดีย และมากินขนมแขกกันเหน่งแอบใส่ความแปลกของอินเดีย คือ masala หรือเครื่องเทศ สำหรับชาลงไป .... เคยกินชาอินเดียครั้งนึง ชอบมากเลยค่ะ หอมเครื่องเทศ หวานมัน
http://mixsoda.diaryclub.com/20090210/0/0/%AA%D5%C7%D4%B5%E3%B9%BA%D1%A7%A1%D2%C5%CD%C3%EC-%C7%D4%B8%D5%B7%D3%AA%D2%E1%BA%BA%CD%D4%B9%E0%B4%D5%C2-%E1%C5%D0%C1%D2%A1%D4%B9%A2%B9%C1%E1%A2%A1%A1%D1%B9.htmlIndian Foods, Indian Restaurants, Indian Recipes, Indian Cuisines, Indian Desserts, Indian Cooking, Vegetarian Food, Indian Breads, Indian Spices, Indian Gourmet, Indian Curry, Indian Beverage, Indian Drink, Indian Ingredient, เมนูอาหาร, อาหารอินเดีย, ร้านอาหารอินเดีย, สูตรอาหารอินเดีย, อร่อย, ปรุงอาหาร, วิธีทำอาหาร, ทำอาหารอินเดีย, อาหารประจำชาติ อินเดีย, ขนม, เครื่องดื่ม